สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ได้ดำเนินการร่วมกันกับคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนในการกำหนดบัญชีประเภทกิจการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านดิจิทัล โดยรายการต่อไปนี้ เป็นกิจการที่คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเห็นชอบให้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามที่สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนกำหนด แบ่งออกเป็น
1. กิจการเป้าหมายในพื้นที่เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (EECd)
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เป็นหน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (EECd) ซึ่งอยู่ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โดย depa ได้ดำเนินการร่วมกันกับคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนในการกำหนดบัญชีประเภทกิจการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านดิจิทัลตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนที่ 6/2561 เพื่อให้เกิดการลงทุนในกิจการเป้าหมายในพื้นที่เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (EECd) กรุณาอ่านประกาศเพิ่มเติมได้ที่ ดาวน์โหลด
บัญชีประเภทกิจการเป้าหมายสำหรับการลงทุนในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Park Thailand หรือ EECd) ประกอบด้วย
หมวด 5 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
|
|
หมวด 7 กิจการบริการและสาธารณูปโภค
|
หมวด 8 การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
|
ประเภท 5.6 กิจการออกแบบทางอิเล็กทรอนิกส์์
5.6.1 กิจการ Microelectronics Design 5.6.2 กิจการ Embedded System Design |
|
ประเภท 7.9 กิจการพัฒนาพื้นที่ส าหรับกิจการอุตสาหกรรม
7.9.2 กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยี 7.9.2.2 กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital Park) 7.9.2.3 กิจการนิคมหรือเขต Data Center 7.9.2.4 ศูนย์บ่มเพาะด้านนวัตกรรม (Innovation Incubation Center) |
ประเภท 8.1 กิจการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมาย
8.1.4 กิจการพัฒนา Digital Technology |
ประเภท 5.7 กิจการซอฟต์แวร์
5.7.1 กิจการพัฒนา Embedded Software 5.7.2 กิจการพัฒนา Enterprise Software 5.7.3 กิจการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สร้างมูลค่าเพิ่มสูง (High Value-added Software) |
|
ประเภท 7.10 กิจการ Cloud Service ประเภท 7.11 กิจการวิจัยและพัฒนา ประเภท 7.13 กิจการบริการออกแบบทางวิศวกรรม ประเภท 7.14 กิจการบริการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ประเภท 7.15 กิจการบริการสอบเทียบมาตรฐาน |
|
ประเภท 5.9 กิจการให้บริการเทคโนโลยีดิจิทัล
(Digital Services) |
|
ประเภท 7.19 กิจการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
7.19.1 กิจการสถานฝึกฝนวิชาชีพ 7.19.2 สถานศึกษาหรือสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2. กิจการเป้าหมายในการส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
บัญชีประเภทกิจการเป้าหมายสำหรับการส่งเสริมการลงทุนกิจการพัฒนาเมืองอิจฉริยะ (Smart City) โดยการส่งเสริมการลงทุนจะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
นอกเหนือจากกิจการดังกล่าวข้างต้น สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลได้เสนอกิจการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านดิจิทัลต่อสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เพื่อให้เกิดการกระตุ้นการลงทุนโดยพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ รายละเอียด ดังนี้
3. ประเภทกิจการเป้าหมายสำหรับการลงทุนในเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (Digital Park Thailand หรือ EECd) ที่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเสนอเพิ่มเติมและอยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
หมวด 1 เกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร
หมวด 4 ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและอุปกรณ์ขนส่ง
หมวด 5 อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ประเภท 5.4.3.1 กิจการผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ส่ง (Emission) แพร่ (Transmission) รับ (Reception) สัญญาณสำหรับระบบใยแก้วนำแสง (Optical Fiber) และระบบไร้สาย (Wireles
4. ประเภทกิจการเป้าหมายสำหรับการส่งเสริมการลงทุนกิจการพัฒนาเมืองอิจฉริยะ (Smart City) ที่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเสนอเพิ่มเติมและอยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
บัญชีประเภทกิจการเป้าหมายสำหรับการส่งเสริมการลงทุนกิจการพัฒนาเมืองอิจฉริยะ (Smart City) ที่สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลเสนอเพิ่มเติมและอยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
กิจการ 7.32 กิจการพัฒนาระบบเมืองอัจฉริยะ
2 กิจการด้านการเดินทางและการขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility)
2.1 ระบบบริการขนส่งมวลชนอัจฉริยะ
2.2 ระบบบริการบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือ บริการตั๋วร่วม
2.3 ระบบบริการเชื่อมโยงข้อมูลข้ามระบบขนส่งมวลชนหลากประเภท
2.4 ระบบบริการข้อมูลการขนส่ง/ เดินทาง
2.5 ระบบบริหารจัดการจราจร
2.6 ระบบควบคุมการเดินรถ และระบบบริหารจัดการความปลอดภัยและสถานการณ์ฉุกเฉิน
2.7 ระบบบริหารจัดการที่จอดรถ
2.8 ระบบวางแผนเส้นทางขนส่งสินค้า
2.9 ระบบบริการโลจิสติกส์
2.10 แพลตฟอร์ม/ ระบบบริการประกันภัยสำหรับการเดินทาง
2.11 แพลตฟอร์ม/ ระบบแบ่งปันรถส่วนตัวและรถจักรยาน
2.12 ระบบค้นหา และนำทาง ระบบพิกัดความละเอียดสูง
3 กิจการด้านพลังงานอัจริยะ (Smart Energy)
3.1 ระบบการผลิตและบริหารจัดการพลังงาน
3.2 ระบบมิเตอร์อัจฉริยะ
3.3 ระบบไมโครกริด
3.4 ระบบอาคารเขียว (Green Building) หรือระบบ Smart Home/ Smart Building เพื่อประหยัดพลังงาน
3.5 ระบบอาคารที่สามารถผลิตพลังงานใช้เอง (Net-Zero Energy Building)
3.6 ระบบพลังงานแสงอาทิตย์
3.7 แพลตฟอร์ม/ ระบบซื้อขายพลังงานไฟฟ้า
5 กิจการด้านพลเมืองอัจฉริยะ (Smart People)
5.1 ระบบการเรียนรู้ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล ด้วยเนื้อหาที่เป็น Digital Content
5.2 แพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยตนเอง และบริการการเรียนรู้ตลอดชีวิต
5.3 แพลตฟอร์ม/ ระบบรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
6 กิจการด้านการดำรงชีวิตอัจฉริยะ (Smart Living)
6.1 ระบบเฝ้าความระวังความปลอดภัย (Surveillance System)
6.2 แอพพลิเคชั่นแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย (City Alert)
6.3 ระบบไฟฟ้า (ถนน) อัจฉริยะ
6.4 แอพพลิเคชั่นเพื่อสื่อสารข้อมูลและบริการชุมชน
6.5 ระบบบริการการแพทย์อัจฉริยะ
6.6 ระบบดูแลสุขภาพอัจฉริยะ
7 กิจการด้านการบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance)
7.1 แพลตฟอร์มบริการประชาชนของเมือง (Smart Portal)
7.2 แพลตฟอร์ม/ ระบบรับฟังความคิดเห็นประชาชนและรับร้องเรียน
7.3 ระบบติดตามประสิทธิภาพและความโปร่งใสในการดำเนินการของเมือง
7.4 แอพพลิเคชั่นด้านนวัตกรรมบริการที่ต่อยอดจากข้อมูลเปิด (Open Data) ของเมือง
7.5 ระบบ Big Data หรือระบบ Artificial Intelligence สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเมือง
8 กิจการด้านดิจิทัลที่ส่งเสริมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
8.1 ซอฟต์แวร์อัจฉริยะหรือระบบอัตโนมัติสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
8.2 การพัฒนาระบบอัตโนมัติ/เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล